รายงานตัวชี้วัด "พื้นที่การสูญเสียดินในประเทศไทย พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2563"
ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน
หมายเหตุ:
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดย่อย
ตัวชี้วัดย่อย | หน่วยนับ | ก่อนหน้า | ล่าสุด | ค่าความต่าง |
---|---|---|---|---|
พื้นที่สูญเสียดินน้อย (SOE66) | ล้านไร่ | 213 2545 | 243 2563 | 29.43 |
พื้นที่สูญเสียดินปานกลาง (SOE66) | ล้านไร่ | 68 2545 | 46 2563 | -21.97 |
พื้นที่สูญเสียดินรุนแรง (SOE66) | ล้านไร่ | 24 2545 | 19 2563 | -5.69 |
พื้นที่สูญเสียดินรุนแรงมาก (SOE66) | ล้านไร่ | 2 2545 | 3 2563 | 0.82 |
พื้นที่สูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด (SOE66) | ล้านไร่ | 13 2545 | 10 2563 | -2.59 |
1. ตัวเลขห้อย หมายถึง ปีพ.ศ. ของข้อมูลตัวเลขในตัวชี้วัดนั้นๆ
2. การเปลี่ยนแปลง ร้อยละ คำนวณได้จาก = ((ข้อมูลปัจจุบัน - ข้อมูลปีก่อนหน้า) x 100) / ข้อมูลปีก่อนหน้า
สถานการณ์การชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทยเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเกิดจากสาเหตุโดยธรรมชาติตามลักษณะภูมิประเทศ กิจกรรมการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของมนุษย์ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ได้แก่ ภัยแล้งที่มีแนวโน้มลดลง ทำให้ดินขาดความชื้น โครงสร้างดินแน่นทึบ ที่เป็นสาเหตุให้ดินเกิดความเสื่อมโทรม ในขณะที่น้ำท่วมและดินถล่มมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งเกิดจากฝนตกหนักเป็นเวลานานบนที่ลาดเชิงเขาหรือภูเขาสูง การตัดไม้ทำลายป่า และการก่อสร้างทำให้การถ่ายเทอากาศในดินลดลง โครงสร้างดินถูกทำลายได้ง่าย ปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินลดลง อย่างไรก็ตาม ในบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำจะเกิดการทับถมของตะกอนทำให้มีการสะสมของปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหาร ซึ่งใน พ.ศ. 2563 มีการประเมินค่าการสูญเสียดินในภาพรวมทั้งประเทศ พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทย มีปริมาณการสูญเสียดินอยู่ในระดับน้อย (0-2 ตันต่อไร่ต่อปี) พบกระจายครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่รวมทั้งสิ้น 242.52 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 75.62 ของเนื้อที่ประเทศ รองลงมา คือ การสูญเสียดินในระดับปานกลาง (2 - 5 ตันต่อไร่ต่อปี) รวมทั้งสิ้น 46.05 ล้านไร่ และการสูญเสียดินในระดับรุนแรง (5 - 15 ตันต่อไร่ต่อปี) รวมทั้งสิ้น 18.69 ล้านไร่ ซึ่งพบการกระจายในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงในภูมิภาคต่าง ๆ
เมื่อทำการเปรียบเทียบพื้นที่การสูญเสียดินระหว่าง พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2563 พบว่า พื้นที่ราบของประเทศไทยมีการสูญเสียดินระดับน้อยเพิ่มขึ้น 6.99 ล้านไร่ รองลงมา การสูญเสียดินระดับรุนแรงเพิ่มขึ้น 3.48 ล้านไร่ และการสูญเสียดินรุนแรงมากเพิ่มขึ้น 0.18 ล้านไร่ ในขณะที่การสูญเสียดินระดับปานกลางและการสูญเสียดินระดับรุนแรงมากที่สุดลดลง 10.06 และ 0.58 ล้านไร่ ตามลำดับ ส่วนบริเวณพื้นที่สูง ซึ่งเป็นพื้นที่ภูเขาและที่ลาดหุบเขา มีการสูญเสียที่ดินระดับน้อยเพิ่มขึ้นถึง 22.45 ล้านไร่ รองลงมา การสูญเสียดินระดับรุนแรงมากเพิ่มขึ้น 0.64 ล้านไร่ ในขณะที่การสูญเสียดินระดับปานกลาง การสูญเสียดินระดับรุนแรง และการสูญเสียดินระดับรุนแรงมากที่สุดลดลง 11.91 9.17 และ 2.01 ล้านไร่ ตามลำดับ จากข้อมูลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่ามีการสูญเสียดินระดับน้อย และการสูญเสียดินระดับรุนแรง/รุนแรงมากเพิ่มขึ้นทั้งบริเวณพื้นที่ราบและพื้นที่สูง อย่างไรก็ตาม ทั้งสองพื้นที่มีการสูญเสียดินระดับรุนแรงมากที่สุดลดลง เมื่อพิจารณาการสูญเสียดินเฉพาะพื้นที่ราบเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรมากที่สุด พบว่า ส่วนใหญ่สูญเสียดินระดับน้อยและรุนแรงมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ควรได้รับการพิจารณาเพื่อหาแนวป้องกันการชะล้างพังทลายของดินที่เหมาะสมกับพื้นที่ต่อไป (ตารางที่ 2.1 และรูปที่ 2.3) (กรมพัฒนาที่ดิน, 2566)
รายการตัวชี้วัดหลัก
-
สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ
-
มูลค่าเงินลงทุนจากต่างประเทศที่ได้รับอนุมัติให้การส่งเสริมการลงทุน (2554-2565)
-
มูลค่าการนำเข้า-ส่งออก และดุลการค้า (2554-2565)
-
รายได้ ค่าใช้จ่าย และภาวะหนี้สินของครัวเรือน (2550-2564)
-
จำนวนนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยวจากชาวต่างประเทศ (2554-2565)
-
จำนวนผู้เยี่ยมเยือนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (2554-2565)
-
มูลค่าและอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2554-2565)
-
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายจ่าย (2553-2562)
-
สัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini coefficient) ของรายได้ (2553-2562)
-
สถานการณ์ด้านสังคม
-
จำนวนและอัตราผู้ป่วยจากโรคเฝ้าระวัง (2551-2565)
-
จำนวนและอัตราการขยายตัวของประชากร (2553-2565)
-
จำนวนประชากร จำแนกวัยเด็ก วัยแรงงาน และวัยสูงอายุ (2553-2565)
-
จำนวนผู้ย้ายถิ่นและอัตราการย้ายถิ่น (2554-2565)
-
จำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงาน (2554-2565)
-
ทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน
-
ปริมาณการนำเข้าปุ๋ยเคมี (2552-2565)
-
ปริมาณการนำเข้าวัตถุอันตรายทางการเกษตร (2552-2565)
-
สถานภาพทรัพยากรดิน พ.ศ. 2561
-
พื้นที่การสูญเสียดินในประเทศไทย พ.ศ. 2545 และ พ.ศ. 2563
-
ประเภทการใช้ที่ดิน (2551-2564)
-
จำนวนเกษตรกรและพื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์ (2560-2564)
-
พื้นที่เกษตรที่เสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้ง (2553-2563)
-
ทรัพยากรแร่
-
จำนวนประทานบัตรแร่ (2559-2566)
-
ปริมาณการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออกแร่ (2558-2565)
-
มูลค่าการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออกแร่ (2554-2565)
-
จำนวนการร้องเรียนจากปัญหาผลกระทบการทำเหมืองแร่ (2558-2565)
-
พลังงาน
-
ความยืดหยุ่นของการใช้พลังงานต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (2554-2565)
-
ค่าความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (2552-2565)
-
ปริมาณการใช้พลังงานหมุนเวียน (2552-2565)
-
ปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (2554-2565)
-
ปริมาณการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานขั้นต้น (2554-2565)
-
สัดส่วนผลิตพลังงานขั้นต้น (2554-2565)
-
ปริมาณการผลิตพลังงานขั้นต้น (2554-2565)
-
ปริมาณการใช้พลังงานทดแทน (2552-2565)
-
ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า
-
จุดความร้อนสะสม (2560-2565)
-
พื้นที่ป่าชุมชน (2556-2565)
-
พื้นที่ถูกไฟไหม้ทั่วประเทศแยกรายภาค (2560-2565)
-
จำนวนสัตว์ป่าและซากสัตว์ป่าในคดีค้าสัตว์ป่า (2554-2565)
-
คดีและจำนวนผู้กระทำผิดเกี่ยวกับการค้าสัตว์ป่า (2554-2565)
-
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ (พ.ศ. 2556-2565)
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (2561-2565)
-
จำนวนคดีบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ (2554-2565)
-
สถิติการดับไฟป่าทั่วประเทศแยกรายภาค (2560-2565)
-
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ที่ถูกบุกรุก (2552-2565)
-
พื้นที่ป่าไม้ (2556-2565)
-
ทรัพยากรน้ำ
-
สถิติความเสียหายจากสถานการณ์ภัยแล้ง (2554-2565)
-
ความเสียหายจากอุทกภัย (2554-2565)
-
การจัดสรรน้ำในช่วงฤดูฝน (2561-2565)
-
การจัดสรรน้ำในช่วงฤดูแล้ง (2561-2565)
-
ความต้องการใช้น้ำ (2560-2565)
-
ปริมาณน้ำบาดาลที่กักเก็บ (2561-2565)
-
ปริมาณน้ำบาดาลที่ใช้ได้อย่างปลอดภัย (2561-2565)
-
ปริมาณน้ำเก็บกักในอ่างขนาดกลางและใหญ่ (2552-2565)
-
ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยทั้งปี (2558-2565)
-
ปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปี (2554-2565)
-
การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ พ.ศ. 2563 (Integrated Water Resource Management; IWRM)
-
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สัตว์ทะเลหายากเกยตื้น (2555-2565)
-
พื้นที่ป่าชายเลนคงสภาพ (2539-2563)
-
พื้นที่แนวปะการัง (2555-2565)
-
พื้นที่แหล่งหญ้าทะเล (2561-2565)
-
ปริมาณสัตว์น้ำเค็ม (2554-2565)
-
ปริมาณการจับสัตว์น้ำต่อหน่วยลงแรงประมง (2551-2565)
-
พื้นที่กัดเซาะชายฝั่ง (2560-2564)
-
ความหลากหลายทางชีวภาพ
-
ชนิดพันธุ์สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ถูกคุกคาม (2548 2559 2563)
-
ชนิดพันธุ์พืชในประเทศไทยที่ถูกคุกคาม (2558 2563)
-
คุณภาพอากาศ
-
ปริมาณก๊าซโอโซน (O3) (2553-2565)
-
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (2554-2565)
-
ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) (2553-2565)
-
คุณภาพเสียง
-
ระดับเสียง (2554-2565)
-
คุณภาพน้ำ
-
คุณภาพน้ำทะเลชายฝั่ง (2552-2565)
-
คุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (2552-2565)
-
ขยะมูลฝอย
-
จำนวนสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชน (2560-2565)
-
ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนต่อคนต่อวัน (2552-2565)
-
ปริมาณขยะมูลฝอย (2553-2565)
-
จำนวนสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยชุมชนที่เปิดดำเนินการถูกต้อง (2559-2563)
-
ของเสียอันตราย
-
ปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชน (2554-2565)
-
ปริมาณกากของเสียอุตสาหกรรม (อันตรายและไม่อันตราย) (2558-2565)
-
ปริมาณของเสียอันตราย (2553-2565)
-
ปริมาณการนำเข้า - ส่งออกซากอิเล็กทรอนิกส์ (2560-2565)
-
มูลฝอยติดเชื้อ
-
ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ (2554-2565)
-
สารอันตราย
-
ปริมาณการนำเข้าสารอันตรายภาคอุตสาหกรรม (2554-2565)
-
สิ่งแวดล้อมชุมชน
-
จำนวนและสัดส่วนพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร (2554-2566)
-
จำนวนและสัดส่วนประชากรในเขตเมือง (2553-2565)
-
จำนวนชุมชนแออัดในกรุงเทพมหานคร (2555-2564)
-
การร้องเรียนมลพิษ อุบัติภัย และเหตุฉุกเฉินจากสารเคมี
-
จำนวนเหตุฉุกเฉินและอุบัติภัยด้านมลพิษ (2551-2565)
-
จำนวนเรื่องร้องเรียนมลพิษ (2556-2565)
-
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
จำนวนแหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรมอันควรอนุรักษ์ (2561-2566)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทถ้ำ (2561-2565)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทน้ำตก (2561-2565)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทภูเขา (2561-2565)
-
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ ประเภทธรณีสัณฐานและภูมิลักษณวรรณา (2561-2565)
-
จำนวนแหล่งโบราณสถานที่ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียน (2552-2564)
-
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ
-
เหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทย (2556-2566)
-
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดของประเทศไทยจำแนกตามภาคส่วน (2543-2562)
-
ค่าเฉลี่ยระดับน้ำทะเลสัมพัทธ์ ณ สถานีตรวจวัด (2553-2565)
-
อุณหภูมิเฉลี่ย (2551-2565)
-
ร้อยละของปริมาณฝนเฉลี่ยทั้งปีที่ต่างจากค่าปกติ (2556-2565)
-
ปริมาณฝนเฉลี่ย (2556-2565)
-
ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ และต่อหัวประชากร (2539-2565)